หน้าหลัก เว็บ ติวสอบดอทคอม "ติวสอบครู ผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษา "

หน้าหลัก เว็บ ติวสอบดอทคอม "ติวสอบครู ผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษา "
หน้าหลัก เว็บ ติวสอบดอทคอม "ติวสอบครู ผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษา "

คู่มือ สอบครูผู้ช่วย ปี 2566 ครบ ภาค กขค 99 บาท

คู่มือ สอบครูผู้ช่วย ปี 2566 ครบ ภาค กขค 99 บาท
คู่มือ สอบครูผู้ช่วย ปี 2566 ครบ ภาค กขค 99 บาท

พัฒนาความรู้ครูมืออาชีพ

พัฒนาความรู้ครูมืออาชีพ
พัฒนาความรู้ครูมืออาชีพ

วันอังคารที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2558

ภาค ก 1.3 วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

ภาค ก 1.3 วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

คำว่า วัฒนธรรม มาจากคำว่า “Culture” ในภาษาอังกฤษ ซึ้งคำนนี้มีรากศัพท์มาจาก “Cultura” ในภาษาละติน มีความหมายว่า การเพาะปลูกและบำรุงให้เจริญงอกงาม คำว่า “วัฒนธรรม” ในภาษาไทย เป็นคำที่ได้มาจากการรวมคำ 2 คำ เข้าด้วยกัน คือ คำว่า “วัฒนะ” หมายถึง ความเจริญงอกงาม รุ่งเรือง และ คำว่า “ธรรม” หมายถึง การกระทำหรือข้อปฎิบัติ เมื่อรวมกันแล้ว วัฒนธรรมตามความหมายของคำในภาาาไทยจึงหมายถึงข้อปฎิบัติเพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม
พระราชบัญญัตวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2485 ได้ให้ความหมายว่าวัฒนธรรมและศึลธรรมอันดีงามของประชาชน
พระยาอนุมานราชธน กล่าวว่า วัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือผลิตสร้างขึ้นเพื่อความเจริญงอกงาม ในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม วัฒนธรรมคือ วิถีทางแห่งชีวิตมนุษย์ ในส่วนรวมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียกกันได้ เอาอย่างกันได้
เมื่อกล่าวโดยสรุปแล้ว วัฒนธรรม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นไว้เพื่อนำเอาไปใช้ช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ในสังคม ซึ้งจะรวมถึงช่วยแก้ปัญหาและช่วยสนองความต้องการของสังคม

ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ จังหวัดอุทัยธานี

ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ
ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ  จังหวัดอุทัยธานี “เทโวโรหณะ  วิถีแห่งศรัทธาต่อศรัทธา”           “ขึ้นแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ 

ประเพณีการแห่ผ้าห่มองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

ประเพณีการแห่ผ้าห่มองค์พระปฐมเจดีย์
ประเพณีการแห่ผ้าห่มองค์พระปฐมเจดีย์  จังหวัดนครปฐม           “แสงนวลจากจันทร์วันเพ็ญส่องสว่างค่ำคืนให้รื่นเริงไปพร้อมกับเทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ประจำปี  ผู้คนจากทั่วสารทิศร่วมบูชาพระบรมสารีริกธาตุด้วยเคารพศรัทธา  เสริมสร้างสิริมงคลแก่ชีวิต  แล้วร่วมแรงร่วมใจแห่ผ้าห่มองค์พระปฐมเจดีย์  อิ่มบุญแล้วยังได้สนุกครึกครื้นไปกับบรรยากาศงานวัด  กิจกรรม  การประกวด 

ประเพณีตักบาตรดอกไม้ จังหวัดสระบุรี

ประเพณีตักบาตรดอกไม้
ประเพณีตักบาตรดอกไม้  จังหวัดสระบุรี           “น้อมนมัสการรอยพระพุทธบาท  ร่วมทำบุญตักบาตรตามวิถีปฏิบัติ  ในงานประเพณีตักบาตรดอกไม้  เนื่องในเทศกาลวันเข้าพรรษา  ตลอดช่วงเช้าและช่วงบ่ายพระสงหลายร้อยรูป  บิณฑบาตเหล่าดอกเข้าพรรษาสีเหลือง  ขาว 

ประเพณีตรุษจีนปากน้ำโพ

ประเพณีตรุษจีนปากน้ำโพ
ประเพณีตรุษจีนปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ “ภูเขาตั้งตระหง่านกลางเมือง แม่น้ำปิง วัง ยม น่าน รวมเป็นเจ้าพระยาสายใหญ่พาดผ่าน ชุมชนภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม ได้เกิดการรวมตัวของกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเล

ประเพณีทอดกฐิน

ประเพณีทอดกฐิน
ประเพณีทอดกฐินจะทำในช่วงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน เกี๋ยงเหนือหรือเดือนตุลาคม ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนยี่เหนือ หรือเดือนพฤศจิกายน

ประเพณีรับบัว

ประเพณีรับบัว
ประเพณีประเพณีรับบัวเป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จัดขึ้นทุกวันขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ

ประเพณีตักบาตรเทโว

ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีตักบาตรเทโว จะจัดขึ้นในช่วงออกพรรษาของหลายๆ จังหวัดในภาคกลาง เช่น อุทัยธานี สระบุรี เป็นต้น ประเพณีของไทย ตักบาตรเทโว ได้มีกล่าวไว้ในตำนานวันเทโวโรหณสูตรเรื่องการเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้าหลังจากที่เสด็จโปรดพระมารดาในช่วงเข้าพรรษาเป็นเวลา

ประเพณีตักบาตรพระร้อย

ประเพณีตักบาตรพระร้อย
ประเพณีตักบาตรพระร้อย คือ การทำบุญตักบาตรประจำปีของวัดไทยเจริญ จังหวัดนนทบุรี “เมื่อครั้งสมัยโบราณกาล วัดไทยเจริญยังไม่มีพระพุทธรูป เจ้าอาวาสจึงได้บอกบุญให้ชาวบ้านนำทองเหลืองมาบริจาคเพื่อหล่อเป็นองค์พระ เมื่อได้แผ่นทองเหลืองแล้วก็นิมนต์พระเกจิอาจารย์ จำนวน ๑๐๘

ประเพณีลอยกระทง

ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีลอยกระทง ประเพณีลอยกระทง ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ของทุกปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า “วันเพ็ญเดือน

ประเพณีไทยภาคตะวันออก


ประเพณีวิ่งควาย จังหวัดชลบุรี

ประเพณีวิ่งควาย
ประเพณีวิ่งควาย  จังหวัดชลบุรี           “ลานกว้าง  คือสนามประลองเจ้าแห่งความเร็วของเจ้าทุยเพื่อนรัก  สัตว์เลี้ยงคู่ใจชาวนาไทยครั้งอดีต  ที่ต่างวางคันไถ  ออกจากท้องนาขึ้นมาช่วงชิงชัยชนะในสนามการแข่งขันวิ่งควาย  ประเพณีที่สร้างความคึกคักเร้าใจ  ได้ทุกช่วงวินาทีที่ผู้บังคับประสานเป็นหนึ่งกับเจ้าทุย 

ประเพณีไทยภาคอีสาน


ผีตาโขนประเพณีไทย จังหวัดเลย ประเพณีไทยที่น่าสนใจ

ผีตาโขนประเพณีไทย-จังหวัดเลย-ประเพณีไทยที่น่าสนใจ-300x199
ประวัติความเป็นมาของผีตาโขน       ประเพณีผีตาโขน เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในอำเภอด่านซ้าย ของจังหวัดเลย ซึ่งมีพื้นที่อยู่ทางภาคอีสานของไทย ไม่มีข้อมูลชัดแจ้งว่ามีมาตั้งแต่เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐว่าน่าจะมีตั้งแต่มี บุญหลวง คือบุญพระเวชสันดรและบุญบั้งไฟรวมกัน

ประเพณีไหลเรือไฟกับความเชื่อของภาคอีสาน

ประเพณีไหลเรือไฟ
ประวัติความเป็นมาของประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีที่จัดขึ้นทั่วไปในหลายจังหวัดทางภาคอีสานที่อยู่ติดกับลำน้ำ โดยมีความเชื่อ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ที่สืบกันมาหลายชั่วอายุคน  แต่การเริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดนั้น ไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง แต่นิษฐานว่าน่าจะมีมาก่อนที่พระพุทธศาสนา จะเผยแพร่มาสู่ประเทศไทย

ประเพณีแห่นางแมว ประวัติความเป็นมา ประเพณีแห่นางแมว

ประเพณีแห่นางแมว
เมื่อให้นึกถึงประเพณีที่มีสัตว์เข้ามาเกี่ยวข้อง มีมาช้านานและเป็นที่รู้จักของคนไทยทั่วประเทศคงเป็นประเพณีอื่นไปไม่ได้นอกจากประเพณีแห่นางแมว ที่นิยมจัดขึ้นในปีที่ฝนไม่ตกต้องตามฤดูการหรือฝนแล้ง เพื่ออ้อนวอนขอให้ฝนตกลงมาสร้างความชุ่มชื่นแก่แผ่นดินและพื้นที่ทำสวนทำไร่ของทุกคน ประวัติความเป็นมาและความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีแห่นางแมว           เนื่องจากสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม การทำเลือกสวนนาไร่จำเป็นต้องอาศัยน้ำจำนวนมาก ดังนั้นหากวันหนึ่งฝนที่เคยตกต้องตามฤดูกาลไม่ตกเช่นเคยย่อมสร้างความเดือนร้อนให้กับชาวนาชาวไร่ทั่วไป เพราะฉะนั้นเพื่อให้ฝนตกลงมาจะได้มีน้ำเพียงพอในการทำการเกษตรกรรมจึงต้องทำพิธี

ประเพณีแห่เทียนพรรษาที่มา ประวัติ กิจกรรม ที่ต้องอ่าน!!

ประเพณีแห่เทียนพรรษา
ประวัติความเป็นมาของการแห่เทียนพรรษา ในสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิ์ประสงค์ ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการเมืองอุบล ครั้งหนึ่งที่เมืองอุบลมีการแห่บั้งไฟที่วัดกลาง มีประชาชนไปดูเป็นจำนวนมาก ครั้งนั้นในขบวนแห่บั้งไปได้เกิดมีการทะเลาะวิวาทและถึงแก่ความตาย เสด็จในกรมได้พิจารณาถึงความสูญเสียอันยิ่งใหญ่ จึงสั่งการให้เลิกแห่บั้งไฟและเปลี่ยนเป็นการแห่เทียนแทน แต่การแห่เทียนพรรษาในสมัยดั้งเดิมก็ไม่ได้จัดงานยิ่งใหญ่เช่นปัจจุบัน เป็นเพียงการที่ชาวบ้านร่วมกันบริจาคเทียน

ประเพณีบุญเบิกฟ้า จังหวัดมหาสารคาม

ประเพณีบุญเบิกฟ้า
ประเพณีบุญเบิกฟ้า  จังหวัดมหาสารคาม           “ประเพณีบุญเบิกฟ้า  ช่วงวันขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๓ หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต 

ประเพณีบุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร

ประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟ  จังหวัดยโสธร           “นิทานพื้นบ้านเล่าสืบต่อกันมา  ผาแดงนางไอ่  พระยาคันคาก  ล้วนกล่าวถึงการจุดบั้งไฟถวายแด่พญาแถน  เพื่อเป็นการขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล  หลาบสิบปีได้สืบทอดงานประเพณีบุญบั้งไฟ  ความสวยงามของการตกแต่งขบวนที่ยิ่งใหญ่ 

ประเพณีบุญผะเหวด จังหวัดร้อยเอ็ด

ประเพณีบุญผะเหวด
ประเพณีบุญผะเหวด  จังหวัดร้อยเอ็ด           “ประเพณีบุญผะเหวด  หรืองานบุญเดือนสี่  ภาพจำลองเรื่องราวมหาชาติชาดก  ครั้งที่พระเวสสันดรกลับเข้าเมือง  ที่ยิ่งใหญ่ตระการตา  ของขบวนแห่ทั้ง ๑๓

เทศกาลดอกลำดวน สืบสานประเพณี สี่เผ่าไท จังหวัดศรีสะเกษ

เทศกาลดอกลำดวน
“ร่วมเรียนรู้  เข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมอีสานใต้  ประเพณีสี่เผ่าไทศรีสะเกษและเทศกาลดอกลำดวน  สัมผัสเอกลักษณ์ของแต่ละชนเผ่า  ส่วย  ลาว  เยอ  และเขมร  วิถีชีวิต  ความเชื่อ 

งานประเพณีตีช้างน้ำนอง มุกดาหาร

งานประเพณีตีช้างน้ำนอง มุกดาหาร
สายน้ำโขงสีขุ่นที่ไหลเรื่อย ช่วงเริ่มต้นแห่งฤดูฝน ระดับสูงขึ้นใกล้เต็มตะลิ่ง ใกล้เวลาที่ชาวบ้านสองฝั่งโขงจะมาร่วมใจ ลงแรก ช่วยลุ้น ผลัดกันส่งเสียงร้องให้กำลังใจเหล่าฝีมืพายจากที่ต่างๆ ที่มาพร้อมกันเพื่อช่วยชิงชัยจ้าวแห่งสายน้ำ ณ เมืองมุกดาหาร

ประเพณีข้าวสาก

ประเพณีข้าวสาก
งานบุญข้าวสากหรือข้าวสลาก (สลากภัต) คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุสลไปให้กับเปรต ซึ่งงานบุญข้าวสากกับงานบุญข้าวประดับดินในเดือน ๙ จะมีความคล้ายคลึงกัน นั่นคือ เป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับเปรตและผู้ล่วงลับไปแล้ว มูลเหตุของการเกิดงานบุญข้าวสาก

ประเพณีทอดกฐิน

ประเพณีทอดกฐิน
ประเพณีทอดกฐินจะทำในช่วงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน เกี๋ยงเหนือหรือเดือนตุลาคม ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนยี่เหนือ หรือเดือนพฤศจิกายน

ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง

ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
ประเพณีแห่ปราสาทผึ้งเป็นงานบุญของชาวอีสาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดสกลนคร ปฏิบัติกันในช่วงออกพรรษา ระหว่างวันขึ้น ๑๒-๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ มูลเหตุของการทำปราสาทผึ้ง สืบเนื่องมาจากครั้งสมัยพุทธกาล

ประเพณีบุญกฐิน

ประเพณีบุญกฐิน
งานประเพณีบุญกฐิน คือ งานบุญถวายผ้าไตรจีวรแด่พระสงฆ์ โดยเริ่มตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันที่ ๑๕

ประเพณีบุญสงกรานต์

ประเพณีบุญสงกรานต์
ประเพณีบุญสงกรานต์ไทยหรือเทศกาลสงกรานต์ไทย ชาวอีสานจะเรียกว่า “สังขานต์” แปลว่า “สงกรานต์” ซึ่งเป็นคำที่มาจากภาษสันสกฤต แปลว่า ผ่านหรือเคลื่อนย้ายเข้าไป หมายถึงพระอาทิตย์ผ่านหรือเคลื่อนย้ายเข้าไปอีกในจักรราศีหนึ่ง เรียกว่า




  

ประเพณีไทยภาคเหนือ


ประเพณียี่เป็ง ประวัติความเป็นมา ประเพณียี่เป็ง ภาคเหนือ

ประเพณียี่เป็ง
คงไม่มีใครที่ไม่รู้จัก ประเพณียี่เป็ง ประเพณีลอยกระทงของชาวล้านนาที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน โดยในปัจจุบันประเพณียี่เป็งยังคงเป็นประเพณีที่มีการสืบทอดและจัดขึ้นในช่วงวันเพ็ญเดือนสิบสองของทุกปี ประวัติความเป็นมาและความเชื่อเกี่ยวกับประเพณียี่เป็ง           ในพงศาวดารโยนกและจามเทวี ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณียี่เป็งเอาไว้ว่า ครั้งหนึ่งเมื่อบ้านเมืองเกิดภัยร้ายแรงด้วยโรคอหิวาตกโรคขึ้นที่แคว้นหริภุญไชย ชาวเมืองล้มตายเป็นจำนวนมาก

ประวัติวันเข้าพรรษา ประเพณีเข้าพรรษา

ประวัติวันเข้าพรรษา
ประวัติวันเข้าพรรษานั้นเริ่มต้นจากเมื่อสมัยพุทธกาลโดยพระพุทธเจ้าเป็นผู้กำหนดขึ้นเนื่องจากมีผู้มาเรียกเรียนว่า พระภิกษุสงฆ์เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยไม่หยุดหย่อนเลยแม้กระทั่งหน้าฝนที่ฝนตกหนัก และน้ำหลาก การเดินทางลำบาก กระทั้งบางครั้งพระสงฆ์เหล่านั้นยังเดินไปเหยียบย่ำพืชผัก หรือผลผลิตที่กำลังเติบโต และกำลังผลิดอกออกผล ได้รับความเสียหาย ดังนั้นพระพุทธเจ้าจึงได้กำหนดให้ฤดูฝนเป็นฤดูสำหรับการหยุดพักการเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาของพระสงฆ์โดยกำหนดให้ตั้งแต่วันแรม 1ค่ำเดือน

ประเพณีไหว้พระธาตุช่อแฮ เมืองแพร่แห่ตุงหลวง จังหวัดแพร่

ประเพณีไหว้พระธาตุช่อแฮ
ประเพณีไหว้พระธาตุช่อแฮ  เมืองแพร่แห่ตุงหลวง  จังหวัดแพร่           “ย้อนอดีตเก่าแก่  เมืองแพร่เมืองงาม  เล่าขานตำนานช่อแพร่ช่อแฮแหล่งประดิษฐานพระเกศาธาตุ  พระบรมสารีริกธาตุ  พระศอกซ้ายของพระพุทธเจ้า  เมื่อถึงวันขึ้น

ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย

ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีลอยกระทง  เผาเทียนเล่นไฟ  จังหวัดสุโขทัย           ประเพณีไืทย –

ประเพณีอัฐมีบูชา

ประเพณีอัฐมีบูชา
“หนึ่งเดียวในประเพณีประเทศไทย น้อมรำลึกถึงองค์พระสัมมาสัมมาสัมพุทธเจ้า พร้อมถ่ายทอดพุทธประวัติจากความร่วมมือของชาวทุ่งยั้งในงาน ประเพณีอัฐมีบูชา พิธีกรรมในการถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้าจำลอง พร้อมถ่ายทอดเรื่องราวพุทธประวัติ พระธรรมคำสอน เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ยึดถือปฏิบัติสืบไป” เรื่องราวที่เล่าขานประเพณีไทย กล่าวถึงเหตุการณ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา

ประเพณีสรงน้ำพระบรมธาตุหริภุญชัย

ประเพณีสรงน้ำพระบรมธาตุหริภุญชัย
ประเพณีสรงน้ำ พระบรมธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน “พระบรมธาตุหริภุญชัย หนึ่งในแปดแห่งจอมเจดีย์ ปูชนียสถานสำคัญ เมื่อครบรอบปีเวียนมาถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน

ประเพณีเวียนเทียนกลางน้ำ

ประเพณีเวียนเทียนกลางน้ำ
ประเพณีเวียนเทียนกลางน้ำ วัดติโลกอาราม จังหวัดพะเยา “ใจกลางกว๊านพะเยา ซากโบราณสถาน ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดติโลกอาราม ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าติโลกราช แห่งอาณาจักรล้านนา ได้ปรากฏเค้าโครงแห่งการบูรณะ และก่อร่างรูปแบบประเพณีปฏิบัติของพุทธศาสนิกชน

ประเพณีแข่งเรือยาว

OLYMPUS DIGITAL CAMERA
ประเพณีไทย:ประเพณีแข่งเรือจังหวัดน่าน “ความสง่างาม และน่าเกรงขามของหัวเรือพญานาค คือเอกลักษณ์ของเรือยาวจังหวัดน่าน ทีมฝีพายจากทั่วทุกสารทิศต่างช่วงชิงความเป็นหนึ่ง เจ้าเรือพายแห่งสายน้ำน่าน เสียงเชียร์ดังสนั่นท้องน้ำ เสียงนกหวีดบอกสัญญาณ เสียงทุ้มต่ำของกลองเร่งเร้าจังหวะ สร้างความเร้าใจได้ตลอดการแข่งขัน”

ประเพณีลอยไหลประทีปพันดวง

ประเพณีลอยไหลประทีปพันดวง
ประเพณีลอยกระทงสาย ไหลประทีปพันดวง จังหวัดตาก “ลอยกระทงสาย ประเพณีไทยที่เกิดจากความร่วมมือ และความสามัคคีของคนในชุมชน ตระเตรียมแพผ้าป่า และกระทงสายพร้อมสรรพ จับสลากว่าใครจะลอยก่อนหลัง เมื่อทุกขั้นตอนพร้อมเรียบร้อย

ประเพณีนบพระเล่นเพลง

ประเพณีนบพระเล่นเพลง
ประเพณีนบพระ เล่นเพลง ในแผ่นดินพระเจ้าลิไท นบพระ เล่นเพลงในแผ่นดินพระเจ้าลิไท ริ้วขบวนยาตราสู่วัดพระบรมธาตุ นครชุม น้อมสักการะพระบรมสารีริกธาตุ สืบทอดประเพณีเก่าแก่นับแต่ครั้งสมัยสุโขทัย งานมหรสพ

ประเพณีทานข้าวหลามและข้าวจี่

ประเพณีทานข้าวหลามและข้าวจี่
ประเพณีทานข้าวหลามและข้าวจี่เป็นประเพณีที่กระทำหลังจากที่ชาวนาได้เสร็จ สิ้นภารกิจจากไร่นาแล้ว หรือในช่วงเดือน ๔ เหนือ โดยนำข้าวใหม่ที่ได้จากการเก็บเกี่ยวมาทำข้าวหลาม ข้าวจี่ (ข้าวเหนียวปิ้ง) ข้าวเม่า ข้าวต้ม

ประเพณีทอดกฐิน

ประเพณีทอดกฐิน
ประเพณีทอดกฐินจะทำในช่วงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน เกี๋ยงเหนือหรือเดือนตุลาคม ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนยี่เหนือ หรือเดือนพฤศจิกายน

ประเพณีแข่งเรือจังหวัดน่าน

ประเพณีแข่งเรือจังหวัดน่าน
จังหวัดน่านเดิมชื่อจังหวัดนันทบุรีหรือวรนคร อยู่ห่างจากกรุงเทพประมาณ ๖๖๘ กิโลเมมตร เป็นจังหวัดเล็กๆ ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทยเป็นเมืองชายแดนแห่งล้านนาตะวันออก มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่างสงบสุข ป่าไม้อุดมสมบูรณ์ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แม่น้ำที่เปรียบเสมือนเส้นเลือดที่ล่อเลี้ยงทุกชีวิตของชาวน่านให้สามารถดำรงชีพอยู่ได้โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

ประเพณีสงกรานต์ล้านนา

ประเพณีสงกรานต์ล้านนา
ประเพณีสงกรานต์ ชาวล้านนาจะเรียกว่า “ปเวณีปีใหม่ หรือ ปาเวณีปีใหม่” อ่านว่า ป๋า-เว-นี-ปี๋-ใหม่ เทศกาลสงกรานต์ตามปฏิทินโหราศาสตร์ของชาวล้านนาเดิมนั้น จะถือเอาวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษเป็นวันมหาสงกรานต์ หรือวันสังกรานต์ล่อง

ประเพณีไทยภาคใต้

ประเพณีแข่งเรือหน้าพระที่นั่งและงานของดีเมืองนรา จังหวัดนราธิวาส

ประเพณีแข่งเรือหน้าพระที่นั่งและงานของดีเมืองนรา  จังหวัดนราธิวาส
ประเพณีแข่งเรือหน้าพระที่นั่ง  และงานของดีเมืองนรา  จังหวัดนราธิวาส           “สีสันเรือกอและอันคงเอกลักษณ์  จากวิถีชีวิตชาวประมงนำสู่ประเพณีท้องถิ่น  เหล่าฝีพายนับสิบประจำในลำเรือ  จากนั้นจึงจ้ำพายสู่หลักชัย  ใครเร็วกว่าคือผู้ชนะ  เสียงปรบมือโห่ร้องส่งกำลังใจจากกองเชียร์ดังรอบ 

ประเพณีแข่งขันตีโพน จังหวัดพัทลุง

ประเพณีแข่งขันตีโพน
ประเพณีแข่งขันตีโพน  จังหวัดพัทลุง           “หลังประดิดประดอยโพนพร้อมสำหรับการประชันแล้ว  เสียงโพนจึงดังกึกก้อง  สร้างความครึกครื้น  รื่นเริง  ในงานประเพณีแข่งขันตีโพน  เครื่องดนตรีพื้นบ้านซึ่งอยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนเมืองลุง  ด้วยเสียงอันทุ้มแหลมกังวาน 

การแข่งขันว่าวประเพณี จังหวัดสตูล

การแข่งขันว่าวประเพณี  จังหวัดสตูล
“ฤดูแห่งลมว่าวพัดมาถึงอีกครั้ง ท้องฟ้าจึงถูกประดับประดาด้วยว่าวนานาชาติ หนึ่งในนั้นคือว่าวควาย ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านสู่เอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่นของว่าวเมืองสตูล ประชันความงามล่องเวหาไปพร้อมๆ กันกับว่าวนานาชาติ เพียงเงยหน้ามองท้องฟ้าจนสุดสายป่าน คุณก็ไม่อาจละสายตา และเพลิดเพลินไปกับงานแข่งขันว่าวประเพณี ณ

ประเพณีชักพระจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ประเพณีชักพระจังหวัดสุราษฎร์ธานี
“ด้วยจิตอันศรัทธายิ่งต่องานประเพณี เมื่อถึงวันชักพระ ชาวบ้านต่างร่วมกันทำบุญตักบาตร อันเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนบุษบกบนเรือพระ รถพระ ซึ่งตกแต่งอย่างงดงาม จากนั้นจึงออกแรงชักพระ เรือพระ ออกจากวัด สมโภชไปตามถนน

ประเพณีทอดกฐิน

ประเพณีทอดกฐิน
ประเพณีทอดกฐินจะทำในช่วงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน เกี๋ยงเหนือหรือเดือนตุลาคม ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนยี่เหนือ หรือเดือนพฤศจิกายน

ประเพณีตักบาตรธูปเทียน

ประเพณีตักบาตรธูปเทียน
ประเพณีตักบาตรธูปเทียนคือการถวายธูปเทียนแด่พระสงฆ์ ซึ่งประเพณีตักบาตรธูปเทียนถือเป็นส่วนหนึ่งของการถวายสังฆทานในวันเข้าพรรษา ช่วงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ซึ่งการตักบาตรธูปเทียนจะมีขึ้นที่วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราชเพียงแห่งเดียว แต่ปรากฏว่าเครื่องสังฆทานที่ชาวบ้านนำมาถวายนั้นมากเกินความจำเป็น

ประเพณีชักพระ

ประเพณีชักพระ
ประเพณีชักพระหรือลากพระเป็นประเพณีของชาวภาคใต้ โดยจะปฏิบัติกันในช่วงออกพรรษา (วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑) ซึ่งมีความเชื่อว่า ครั้งสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าได้เสร็จไปจำพรรษา

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ คือ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นโอบฐานเจดีย์พระบรมธาตุเมืองนคร จังหวัดนครศรีธรรมราช สมัยโบราณเรียกประเพณีนี้ว่า “ประเพณีแห่พระบฏขึ้นธาตุ” (ผ้าพระบฏ คือ ผ้าผืนยาวและใหญ่และมีการเขียนรูปพุทธประวัติลงบนฝืนผ้านั้น) มูลเหตุของการเกิดประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

คู่มือ สอบครูผู้ช่วย ปี 2566 ครบ ภาค กขค 99 บาท

คู่มือ สอบครูผู้ช่วย ปี 2566 ครบ ภาค กขค 99 บาท
คู่มือ สอบครูผู้ช่วย ปี 2566 ครบ ภาค กขค 99 บาท